ตากุ้งยิง
ตากุ้งยิง เป็นการอักเสบของต่อมในหนังตาที่อยู่บริเวณโคนขนตา ลักษณะเหมือนฝีทั่วไป มีทั้งตากุ้งยิงภายนอกและตากุ้งยิงภายใน ส่วนใหญ่กุ้งยิงเกิดจากเชื้อแบคทีเรียกลุ่ม สแตฟ(Staphylococcus) จึงก่อให้เกิดอักเสบของต่อมในหนังตา ตามมาด้วยมีการบวม มีหนองสะสม ก่อให้เห็นเป็นฝี เป็นก้อนนูน ถ้าเป็นที่หนังตาบน หากหลับตาจะเห็นก้อนนูนชัดเจน
อาจมีอีกภาวะหนึ่งที่เกิดกับต่อมต่างๆของหนังตาเช่นกัน เป็นไตนูนแข็ง ขนาดพอๆกับกุ้งยิง เรียกว่า ปรวดหนังตา (Chalazion) โดยไม่มีการอักเสบติดเชื้อ ไม่เจ็บ เป็นเพียงมีก้อนนูนขึ้นมาเฉยๆ
ตากุ้งยิง มักพบในคนที่ชอบขยี้ตา ผู้ที่ไม่ค่อยรักษาความสะอาดใบหน้า ตลอดจนใช้คอนแทคเลนส์/เลนส์สัมผัส (Contact lens) ร่วมกับผู้อื่น ผู้ที่มีโรคผิวหนังบริเวณใบ หน้า และ/หรือ มีใบหน้ามัน จึงมีการอุดตันของต่อมไขมันบริเวณใบหน้ารวมทั้งหนังตาได้สูงกว่า
การรักษาตากุ้งยิง หากเกิดการอักเสบและเกิดอาการบวม แดง ร้อน ควรเช็ดทำความสะอาดขอบตาด้วยน้ำอุ่นสะอาด โดยเช็ดจากหัวตาไปหางตา ประมาณวันละ 2 ครั้ง และรับประทานยาปฏิชีวนะ แต่หากเป็นตากุ้งยิงชนิด ปรวดหนังตา (Chalazion) ต้องกรีดเอาก้อนออก
ยาที่ใช้รักษาตากุ้งยิง ได้แก่ ป้ายที่เปลือกตาก่อนนอน,คลอแรมเฟนิคอล หยอดตา และกินยาไดค็อกซ่าซิลิน ก่อนอาหารเช้า เที่ยง เย็น ก่อนนอน
View Posts Recommended By Other Readers :
ตากุ้งยิง, ยารักษา, chalazionคลังบทความของบล็อก
- พฤษภาคม (1)
- มีนาคม (3)
- มกราคม (1)
- มิถุนายน (1)
- เมษายน (2)
- พฤศจิกายน (1)
- สิงหาคม (2)
- พฤษภาคม (1)
- เมษายน (1)
- พฤศจิกายน (2)
- มีนาคม (1)
- กรกฎาคม (1)
- มิถุนายน (1)
- พฤษภาคม (2)
- เมษายน (4)
- มีนาคม (7)
- กุมภาพันธ์ (3)
- มกราคม (8)
- ธันวาคม (3)
- พฤศจิกายน (9)
- ตุลาคม (1)
- กันยายน (9)
- สิงหาคม (32)
- กรกฎาคม (42)
- มิถุนายน (41)
- พฤษภาคม (3)
- เมษายน (5)
- มีนาคม (3)
- กุมภาพันธ์ (13)
- มกราคม (8)
- ธันวาคม (7)
- พฤศจิกายน (10)
- ตุลาคม (4)
- กรกฎาคม (2)
- มิถุนายน (10)
Popular Posts
-
เมื่อช่วงวันหยุดทีี่่ผ่านเมื่อกี้ผมได้ไปประชุม อบรม เรื่องของ PCA ที่จังหวัดสุรินทร์ ไปประชุม(จริงๆคือไปอบรม) และพักที่ รีสอร์ท แน่นอนครั...
-
ยายี่ห้อ zithromax มีตัวยา AZITHROMYCIN ส่วนใหญ่แพทย์เฉพาะทางจะจ่ายยาตัวนี้เพราะไม่ต้องกินมากและหายเร็ว แต่ตามโรงพยาบาลหรือร้านยาจะไม่จ่...
-
ตัวอย่างการแบ่งงานใน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพนะครับ มีทั้งหน้าที่ของนักวิชาการสาธารณสุข หน้าที่ของพยาบาลวิชาชีพ หน้าที่ของเจ้าหน้าที่สาธารณสุ...
-
"ขอเล่าเรื่องของผมครั้งสมัยก่อนที่ผมจะสอบได้บรรจุในตำแหน่งนักวิชาการสักนิดนึงนะครับ อาจเรีกได้ว่าเป็นการแชร์เคล็ดลับในการเตรียมตัวสอบก้...
-
"เสื้อหมออนามัย" ใส่ได้เฉพาะ หมออนามัย หรือเปล่าครับ? เป็นคำถามที่เด็กอายุราว 4 ปีได้เอยถามผม พอผมได้ยินคำถามนี้ผมก็ถามตอบท...
1 ความคิดเห็น:
หลักการกินยา Cloxacillin ให้ กิน ขนาด 250 - 500 mg 1*4 ac ประมาณ 7 - 14 วัน
โดยพึงสังวรณ์ว่า Cloxacillin เป็นยากลุ่ม Penicillin ดังนั้น ถ้าเคยใช้ยา Penicillin แล้วมีอาการแพ้ ซึ่งรุ่นพ่อ รุ่นแม่มักเรียกว่า ยา เพน ต้องห้ามจ่าย ห้ามกินยา Cloxacillin เด็ดขาด
แล้วจะให้รับประทานยาอะไร ก็ขอให้รับประทานยา Erythromycin
แสดงความคิดเห็น