ขับเคลื่อนโดย Blogger.

Logistic Regression ทางการแพทย์


การถดถอยโลจีสติก
Logistic Regression
ในทางสถิติที่นิยมใช้ โดยเฉาะในงานทางด้านสุขภาพและในวงการอื่น ๆ มักจะใช้การ
วิเคราะห์การถดถอยโลจีสติก (Logistic Regression) ตัวแบบการถดถอยเชิงเส้นที่ใช้วิธีกาลังสอง
น้อยที่สุด (least square method) ในการประมาณค่าตัวแบบ มีข้อตกลงเบื้องต้นหลายประการ
ด้วยกัน อาทิ ตัวแปรต้องเป็นตัวแปรแบบต่อเนื่อง ความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรอิสระและตัวแปร
ตามต้องเป็นเชิงเส้นตรง การแจกแจงของความคลาดเคลื่อนต้องเป็นการแจกแจงแบบปกติ และมี
ค่าความแปรปรวนคงที่ จากข้อตกลงเบื้องต้นที่กล่าวมานี้ จะเห็นว่าข้อจากัดที่สาคัญที่สุดข้อหนึ่ง
เกี่ ย วกั บ ตั ว แปรในการถดถอยเชิ ง เส้ น คื อ ตั ว แปรตามจะต้ อ งเป็ น แบบต่ อ เนื่ อ ง (continuous
variable) เท่านั้น ซึ่งในทางปฏิบัติผู้วิจัยอาจจะประสบกับปัญหาที่ตัวแปรตามที่ไม่เป็นตัวแปร
แบบต่อเนื่อง ในทางตรงข้ามเป็นตัวแปรจาแนกประเภท (categorical variable) ที่มีค่าเป็นสอง
ค่า เช่น ความสาเร็จ กับความล้มเหลว คนไข้รอดชีวิตหรือเสียชีวิต นักศึกษาสอบผ่านหรือไม่ผ่าน
เป็นต้น หรือบางครั้งอาจจะมีค่าสามค่าหรือมากกว่า เช่น นักศึกษาเลือกเรียนวิชาเอกคณิตศาสตร์
วิชาเอกดนตรี หรือวิชาเอกภาษาอังกฤษ หรือตาแหน่งงานมี 4 กลุ่ม เหล่านี้เป็นต้น
ถึงแม้ว่าปัญหาของตัวแปรตามซึ่งเป็นตัวแปรจาแนกประเภททาให้เราไม่สามารถใช้การ
วิเคราะห์การถดถอยเชิงเส้นที่ใช้วิธีการประมาณค่ากาลังสองน้อยที่สุด (ordinary least square
method) แต่เราสามารถใช้เทคนิคทางสถิติที่เรียกว่า discriminant analysis, probit analysis,
log-linear analysis และ logistic regression ศึกษาได้ เทคนิคสถิติที่เรียกว่า log-linear
analysis นั้นใช้กับกรณี ที่ตัวแปรอิสระที่ศึกษาทั้งหมดเป็นตัวแปรจ าแนกประเภท ในขณะที่
discriminant analysis ใช้กับตัวแปรอิสระที่ศึกษาทั้งหมดเป็นตัวแปรแบบต่อเนื่อง ส่วน probit
analysis และ logistic regression นั้นค่อนข้างยืดหยุ่นกว่ากล่าวคือตัวแปรอิสระอาจจะเป็นทั้ง
แบบต่อเนื่องหรือแบบจาแนกประเภทผสมกันได้
ในที่นี้จะพิจารณาเฉพาะเทคนิคสถิติที่เรียกว่า การถดถอยโลจีสติก และเฉพาะกรณีที่ตั ว
แปรตาม Y มีค่าเพียงแค่สองค่า (dichotomous) วัตถุประสงค์ของการถดถอยโลจีสติก คือการหา
โมเดลที่สอดคล้องกับชุดข้อมูลมากที่สุดในขณะเดียวกันก็หาความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรตามกับ
ชุดของตัวแปรอิสระ นอกจากนี้ยังอาจจะใช้ในการพยากรณ์เกี่ยวกับจาแนกกลุ่ม (classification)
วิธีการนาเสนอเทคนิคการถดถอยโลจีสติกในที่นี้จะเน้นการนาเอาไปประยุกต์ใช้มากกว่าที่
จะนาเสนอในเชิงทฤษฎี ทั้งนี้จะเริ่มโดยการให้แนวคิด (concept) ของการใช้การถดถอยโลจีสติก

ตัวแบบการถดถอยโลจีสติก (logistic regrssion model) การวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้โปรแกรม
สาเร็จรูป SPSS การตีความหมายของ output ที่ได้ ตลอดจนประเด็นที่น่าสนใจที่ปรากฏในผล
การวิเคราะห์ดังกล่าว

0 ความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น

Popular Posts

จำนวนการดูหน้าเว็บรวม

 
Copyright © 2011 toncub | High CTR Blogspot Themes designed by Ali Munandar | Powered by Blogger.Com.
My Zimbio