ทุกๆท่านคงทราบกันดีแล้วว่านักวิชาการสาธารณสุขมีงานหลักๆ คือ การบรรยาย การสรุปผลงาน การรับประเมิน การประกวด และทำงานวิจัย
และแน่นอนว่าการนำเสนองาน ย่อมมีการให้ข้อมูลย้อนกลับ หรือ เรียกว่า "ควมคิดเห็น" ไม่ว่าจะเป็นความคิดเห็นของเพื่อนร่วมงาน ความคิดเห็นของเจ้านาย ความคิดเห็นของอาจารย์ ความคิดเห็นของกรรมการ เรียกรวมๆว่า ความคิดเห็นของผูัมีส่วนได้เสีย
ในชีวิตของผมก็ได้รับความคิดเห็นเหล่านั้นมาทั้งหมดแล้วครับ ผมก็ขอแบ่งชนิดของความคิดเห็นคร่าวๆ ดังนี้ 1.การชื่นชม 2.การวิจารณ์ 3.ข้อเสนอแนะ
ชนิดของความคิดเห็นที่สำคัญก็คงเป็นคำวิจารณ์ เพราะโดยธรรมชาติของเรานั้นมักคิดว่าความคิดของเรานั้นถูกต้อง และต่อต้านคำวิจารณ์ แต่หากใครที่ปรารณจะเป็นยอดคนหรือคนที่ยอดเยี่ยมแล้ว สิ่งที่ต้องทำคือ ต้องทำใจให้กว้างและยอมรับคำวิจารณ์อย่างมีเหตุผล
สำหรับคนใจแคบ ขี้ขลาด และไม่ยอมพัฒนาตัวเองนั้นมักกลัวคำวิจารณ์ กลัวว่าข้อบกพร่องของตนเองจะถูกเปิดเผย จึงต้องคอยหลบๆเลี่ยงๆอยู่เรื่อยไป
แต่คนที่จะเป็นยอดคนจะคอยพัฒนาตัวเองอยู่เสมอนั้น จะฟังคำวิจารณ์โดยไม่คล้อยตามอารมณ์ของตัวเอง (ชอบหรือไม่ชอบ)
แน่นอนว่าคำวิจารณ์ย่อมมีทั้งถูกต้องและไม่ถูกต้อง (บางคนก็วิจารณ์เพราะสนุกปาก) ดังนั้นเราจำเป็นที่จะต้องแยะแยะคำวิจารณ์ให้ได้ โดยคิดเสมอว่า "การต่อต้านคำวิจารณ์กับการไม่เห็นด้วยกับคำวิจารณ์เป็นคนละเรื่องกัน"
หากเราสามารถแยกแยะคำวิจารณ์โดยปราศจากอารมณ์ได้แล้ว "คำวิจารณ์ก็จะกลายเป็นข้อมูลที่มีคุณค่าดั่งทองคำ"
และแน่นอนว่าการนำเสนองาน ย่อมมีการให้ข้อมูลย้อนกลับ หรือ เรียกว่า "ควมคิดเห็น" ไม่ว่าจะเป็นความคิดเห็นของเพื่อนร่วมงาน ความคิดเห็นของเจ้านาย ความคิดเห็นของอาจารย์ ความคิดเห็นของกรรมการ เรียกรวมๆว่า ความคิดเห็นของผูัมีส่วนได้เสีย
ในชีวิตของผมก็ได้รับความคิดเห็นเหล่านั้นมาทั้งหมดแล้วครับ ผมก็ขอแบ่งชนิดของความคิดเห็นคร่าวๆ ดังนี้ 1.การชื่นชม 2.การวิจารณ์ 3.ข้อเสนอแนะ
ชนิดของความคิดเห็นที่สำคัญก็คงเป็นคำวิจารณ์ เพราะโดยธรรมชาติของเรานั้นมักคิดว่าความคิดของเรานั้นถูกต้อง และต่อต้านคำวิจารณ์ แต่หากใครที่ปรารณจะเป็นยอดคนหรือคนที่ยอดเยี่ยมแล้ว สิ่งที่ต้องทำคือ ต้องทำใจให้กว้างและยอมรับคำวิจารณ์อย่างมีเหตุผล
สำหรับคนใจแคบ ขี้ขลาด และไม่ยอมพัฒนาตัวเองนั้นมักกลัวคำวิจารณ์ กลัวว่าข้อบกพร่องของตนเองจะถูกเปิดเผย จึงต้องคอยหลบๆเลี่ยงๆอยู่เรื่อยไป
แต่คนที่จะเป็นยอดคนจะคอยพัฒนาตัวเองอยู่เสมอนั้น จะฟังคำวิจารณ์โดยไม่คล้อยตามอารมณ์ของตัวเอง (ชอบหรือไม่ชอบ)
แน่นอนว่าคำวิจารณ์ย่อมมีทั้งถูกต้องและไม่ถูกต้อง (บางคนก็วิจารณ์เพราะสนุกปาก) ดังนั้นเราจำเป็นที่จะต้องแยะแยะคำวิจารณ์ให้ได้ โดยคิดเสมอว่า "การต่อต้านคำวิจารณ์กับการไม่เห็นด้วยกับคำวิจารณ์เป็นคนละเรื่องกัน"
หากเราสามารถแยกแยะคำวิจารณ์โดยปราศจากอารมณ์ได้แล้ว "คำวิจารณ์ก็จะกลายเป็นข้อมูลที่มีคุณค่าดั่งทองคำ"